FORRU

โครงการ

Sapindus rarak

โครงการธนาคารเมล็ดโลก : ปลดล็อค

From: Nov 2020 To: Dec 2026
ประเทศไทย
ทำงานร่วมกับ RBG-Kew และยังคงดำเนินโครงการต่อสำหรับทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในด้านการจัดหาเมล็ดพันธุ์ ความทนทานต่อความร้อนของเมล็ดพันธุ์ สายพันธุ์ที่ขาดข้อมูลและพันธุกรรม ภายใต้โครงการนี้เราได้รับความช่วยเหลือจากนักวิทยาษสตร์ชาวอินโดนีเซียในการจัดตั้งหน่วยวิจัยที่ชวา
Rapid site assessemnt

จากเมล็ดสู่ต้นไม้

From: 01 Oct 2024 To: 28 Feb 2026
Regional
การรวบรวมชุดข้อมูลของ FORRU-CMU เพื่อพัฒนาแบบจำลองเพื่อช่วยในการตัดสินใจในการเลือกชนิด
BMSM Nursery

ศูนย์เพาะชำกล้าไม้ชุมชนบ้านแม่สา

From: 01 Sep 2015 To: 31 Dec 2025
บ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
การสนับสนุนโครงการศูนย์เพาะชำกล้าไม้ชุมชนบ้านแม่สาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการผลิต การวิจัย และการศึกษาวิจัยต้นไม้จากมูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์
Young Forest Restorers team photo in the forest

ยุวชนฟื้นฟูป่า (Young Forest Restorers)

From: Apr 2022 To: Mar 2025
จังหวัดเชียงใหม่
ครูและนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีทักษะ ความรู้ตามหลักวิทยาศาสตร์ เพื่อให้มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้อย่างมีประสิทธิภาพ สอนการเก็บเมล็ดพันธุ์ การเพาะกล้าและการดูแลต้นกล้า โดยสนับสนุน 4 โรงเรียนต่อปี มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ไม้ระหว่างโรงเรียน รวมถึงให้ความช่วยเหลือและติดตามผล
SDIMPLE

SIMPLE

From: 2024 To: 2025
ประเทศไทย
โครงการ SIMPLE สร้างป่าเสมือนจริงเพื่อเปิดประสบการณ์การฟื้นฟูป่าภายในห้องเรียนให้กับนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการฟื้นฟูป่าผ่าน virtual reality (VR) tool
Measuring trees in plot BMSM2000_3

โครงการ BKIND กับ The Next Forest

From: 01 Jun 2023 To: 31 Dec 2024
Upper Mae Sa Valley, northern Thailand
โครงการนี้สนับสนุนการดูแลรักษาและการติดตามผลของแปลงป่าฟื้นฟูในพื้นที่หมู่บ้านแม่สาข้างบน ในขณะเดียวกันมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบของการฟื้นที่ที่มีผลต่อคาร์บอนในป่าและการฟื้นตัวของความหลากหลายทางชีวภาพ
Field staff sitting in a forest clearing discussing project work

โครงการฟื้นฟูป่าจังหวัดน่าน

From: Jan 2017 To: Dec 2024
Nan, Thailand
โครงการฟื้นฟูป่าจังหวัดน่าน โดยหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้โครงการวิจัยของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดีย พนิตนาถ แชนนอน ซึ้งได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัย 3 โครงการ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560ได้แก่
FRAME Restoration Workshop

FRAME - ป่าไม้, การบรรเทาและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

From: 15 Nov 2020 To: 31 Jan 2024
ประเทศลาว
โครงการนี้จะสร้างความเข้มแข็งให้กับการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เกี่ยวข้องกับด้านป่าไม้ในประเทศลาว และประเทศไทยโดยการพัฒนาเครื่องมือต่าง ๆ ด้านการเรียน และการสอน (รวมทั้งการสอนแบบออนไลน์) เพื่อที่จะสร้างความสามารถสำหรับการจัดการป่าอย่างยั่งยืน การฟื้นฟูป่า และความเป็นอยู่ในชนบท ทั้งนี้ ...
KAREN AT DS NURSERY

หลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการและฟื้นฟูป่าสำหรับชุมชนกะเหรี่ยงในเขตเกาะทูเลทางตะวันออกของเมียนมาร์

From: 01 Aug 2021 To: 31 Jan 2024
Kawthoolei, Myanmar
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนกะเหรี่ยงในพื้นที่เกาะทูเลในการดำเนินการฟื้นฟูป่าที่ดีขึ้นและการจัดการป่าอย่างยั่งยืน
Field project staff near saplings in the forest

โครงการฟื้นฟูป่าชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โรงเรียนคริสเตียนเยอรมันเชียงใหม่ (CDSC)

From: May 2020 To: Jan 2024
ประเทศไทย, เชียงใหม่, อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
ดำเนินงานกิจกรรมให้กับโรงเรียนในการฟื้นฟูป่าเพื่อชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้โดยใช้วิธีการพรรณไม้โครงสร้างฟื้นฟูพื้นที่ป่าผลัดใบผสมไผ่
FORRU field researcher in the field with a sapling

โป่งแยงเทรล โปรเจค #4: ฟื้นฟูป่า 4 ไร่ ณ โป่งแยงใน

From: Aug 2021 To: Dec 2022
บ้านโป่งแยงใน, อำเภอแม่ริม, จังหวัดเชียงใหม่
โครงการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าโดยใช้วิธีพรรณไม้โครงสร้างและติดตามผลการเจริญเติบโตของกล้าไม้ด้วยความร่วมมือจากศูนย์ธรรมชาติวิทยาดอยสุเทพฯ และกลุ่มนักวิ่งเทรลโป่งแยง
FOB teacher training manuals

โครงการผืนป่าบนกระดานดำ

From: Jan 2012 To: Mar 2022
กาญจนบุรี, เชียงใหม่, กระบี่
โครงการผืนป่าบนกระดานดำพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสำหรับนักเรียน มีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อเปิดโอกาสการเรียนรู้ที่มากขึ้น
Tree seedling species for restoring the lowland evergreen forest habitat

ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูป่าดิบที่ราบต่ำของจังหวัดกระบี่

From: 25 Jan 2005 To: 30 Aug 2013
จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย
ป่าดิบเขาที่ราบต่ำ บ้านของนกแต้วแล้วที่ใกล้สูญพันธุ์งานนี้ประกอบด้วยการศึกษาชีพลักษณ์ในป่าที่เหลืออยู่ การทดลองในเรือนเพาะชำเพื่อเตรียมพันธุ์ไม้มากกว่า 160 ชนิด และการทดลองภาคสนามเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสายพันธุ์ต่างๆ ทั้งหมดนี้ส่งผลให้เกิดการฟื้นฟูระบบนิเวศที่หายากและนกที่ใกล้สูญพันธุ์
 ECN & FORRU-CMU teams inspecting elephant dung in Salakpra WS

การฟื้นฟูถิ่นที่อยู่ของช้างในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าสลักพระ ภาคตะวันตกของประเทศไทย

From: 01 Oct 2008 To: 31 Oct 2010
จังหวัดกาญจนบุรี
โครงการนี้สร้างความรู้ในการฟื้นฟูป่าไผ่ผลัดใบในภาคตะวันตกของประเทศไทยเพื่ออนุรักษ์ช้างและลดความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างในพื้นที่อนุรักษ์สลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับทุนจากกองทุนอนุรักษ์ธรรมชาติ Keidanren ร่วมกับ ZSL ดำเนินการโดย ECN ซึ่ง FORRU-CMU ให้ความช่วยเหลือในเรื่องทางเทคนิค
เด็กนักเรียนและเจ้าหน้าที่หน่วยวิจัยถ่ายภาพรวมทุกคนยิ้มและถือต้นกล้า

การอบรบเชิงปฏิบัติเพื่อสนับสนุน 8 หมู่บ้านในการจัดตั้งเรือนเพาะชำที่ดอยแม่สะลอง

From: 12 May 2007 To: 13 May 2010
ดอยแม่สะลอง
กองบัญชาการทหารสูงสุด ร่วมกับ IUCN และ FORRU-CMU มุ่งหวังที่จะฟื้นฟูป่าบนพื้นที่เสื่อมโทรมขนาด 1,440 เฮคเตอร์ ที่ดอยแม่สลอง (DMSL) จังหวัดเชียงราย โครงการนี้เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2550 FORRU มีส่วนร่วมกับโครงการโดยเริ่มจากการจัดทำแปลงทดลองภาคสนาม และสร้างเรือนเพาะชำใน 8 ชุมชน
Promoting Community Participation in Forest Landscape Restoration

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูป่า: บำรุงรักษาและฝึกอบรมในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย

From: 01 Jun 2006 To: 31 May 2009
ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่
ในความร่วมมือกับโครงการ WWF ประเทศไทย และการสนับสนุนทางการเงินจากคิง เพาเวอร์ FORRUได้ดำเนินโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ตัวอย่างสำหรับการฟื้นฟูป่าไม้แบบบูรณาการ (FLR) เพื่อส่งเสริมแนวคิดนี้ให้กับกลุ่มผู้สนใจ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาและดูแลรักษาเรือนเพาะชำเพื่อผลิตพันธุ์ไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่า
Restoring Deciduous Forest by FSM

การฟื้นฟูป่าผลัดใบโดยปรับใช้หลักการของพันธุ์ไม้โครงสร้าง

From: 01 Sep 2006 To: 31 Mar 2008
จังหวัดเชียงใหม่ ห้วยตึงเฒ่า และจังหวัดแพร่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การทดลองภาคสนามเพื่อพิจารณาว่าวิธีพันธุ์ไม้โครงสร้างสามารถใช้ในการฟื้นฟูป่าเบญจพรรณที่ราบลุ่มได้หรือไม่ โครงการนี้สนับสนุนเรือนเพาะชำต้นไม้เพื่อการวิจัยและการทดลองภาคสนาม ผลลัพธ์คือสามารถจัดอันดับชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการฟื้นฟู วิธีการจัดการป่าไม้ที่เหมาะสม และวิธีการขยายพันธุ์พืช
ภาพป่าต้นสนและเจ้าหน้าที่กำลังสำรวจต้นไม้

การฟื้นฟูสนคิวเพรสซัส ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่

From: 01 Jun 1999 To: 31 Jan 2008
ดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าร่วมกับอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยทำงานร่วมกันในการอนุรักษ์สนสกุลคิวเพรสซัสและคัดเลือกพรรณไม้ท้องถิ่นปลูกในพื้นที่ พบว่าต้นไม้ที่ปลูกมีอัตราการเจริญเติบโตที่ในแปลงที่มีการตัดแต่งกิ่งดีกว่าแปลงที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่ง