คำแนะนำ

การฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้ความรู้และการบริการ เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้เกี่ยวข้องในงานฟื้นฟูป่าในการทำงานร่วมกัน ซึ่งอาจรวมถึงคอร์สอบรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการเยี่ยมสถานที่เวลานาน โดยใช้ตำรา และแหล่งความรู้อื่นๆ ทั้งหมดนี้เพื่อตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกันไปของผู้เกี่ยวข้องแต่ละกลุ่ม (เช่น ข้าราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนท้องถิ่น ครู เด็กนักเรียน และอื่นๆ)

ทีมการศึกษา

เนื่องจากทางหน่วยงานรับผู้อบรมจำนวนจำกัด จึงแนะนำให้ผู้ที่สมัครเข้าร่วมอบรมเป็นเจ้าหน้าที่การศึกษาโดยมาเป็นกลุ่ม แต่ละคนควรมีประสบการณ์เรื่องสิ่งแวดล้อมศึกษาอย่างลึกซึ้งอยู่แล้ว และมีความตั้งใจที่จะให้ความรู้และคำปรึกษาเรื่องเทคนิคการฟื้นฟูป่าตามความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง

หลักสูตรการศึกษา

เมื่อผู้เข้าอบรมมีความคุ้นเคยกับองค์ความรู้ของหน่วยงานแล้ว จึงเริ่มออกแบบหลักสูตรการสอนที่ตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกันไปของผู้เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูป่าแต่ละกลุ่ม หลักสูตรอาจมีกิจกรรมดังนี้

  • ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำเสนอแนวคิดหลักในการฟื้นฟูป่า พร้อมกับเทคนิค และผลลัพธ์;
  • การอบรมลึกซึ้งคั้นต่อไปเรื่องแนวปฏิบัติแบบอย่างในการฟื้นฟูป่าสำหรับผู้ที่รับผิดชอบในการดำเนินการเรือนเพาะชำและโครงการปลูกพืช;
  • การเยี่ยมอยู่ระยะยาวที่ไซท์งานโครงการฟื้นฟูป่า ด้วยจุดประสงค์ให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคแก่ผู้ดำเนินโครงการโดยตรง;
  • เป็นเจ้าภาพให้แก่ผู้สนใจเข้าชมหน่วยงาน เช่น นักวิทยาศาสตร์ ผู้บริจาค นักข่าว เป็นต้น;
  • ช่วยดูแลโครงการวิทยานิพนธ์;
  • นำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุม

 

education event

สามารถจัดกิจกรรมพิเศษสำหรับเด็กนักเรียน (camp) พร้อมกับการอบรมครู (ครึ่งวันถึงสองสามวัน) เนื่องว่าเด็กเป็นผู้ที่จะได้ผลประโยชน์สงสุดจากการฟื้นฟูป่า

อุปกรณ์การศึกษา

สำหรับหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่แล้ว การตีพิมพ์ข้อมูลและผลงาน เป็นวิธีการเผยแพร่ความรู้ที่สำคัญ ซึ่งกระบวนการ เขียนและตีพิมพ์ก็ประกอบไปด้วยการรับฟังคำปรึกษาและข้อมูลจากผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำเช่นนี้เพิ่มประสิทธิภาพผลงานของหน่วยงาน และทำให้ความรู้ที่เผยแพร่ไปนั้นมีประโยชน์ต่อชาวบ้านสูงสุด นอกจากนี้ยังเป็นการคำนึงถึงภูมิปัญญาชาวบ้านอีกด้วย ตัวอย่างงานตีพิมพ์ ได้แก่

  • แผ่นพับและเอกสารประกอบคำบรรยาย:
    • เป็นประโยชน์ต่อพนักงานของหน่วยงาน และผู้เข้ารับชม โดยเฉพาะผู้ให้ทุนปัจจุบัน และผู้ที่มีความสนใจให้ทุน
    • ควรให้ข้อมูลกระชับความ และช่วยประชาสัมพันธ์หน่วยงาน 
    • เมื่อโครงการวิจัยพัฒนาขึ้น ควรมีการผลิตเอกสารทางเทคนิคเพิ่มเติม เช่น เอกสารข้อมูลชนิดพันธุ์และตารางการผลิต
  • คู่มือปฏิบัติ:
    • คู่มือนี้ทำหน้าที่เป็นตำราสำหรับการฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูป่า พนักงาน และ ผู้เยี่ยมชม
    • ควรเขียนถึง ก) หลักการและเทคนิคพื้นฐานในการฟื้นฟูป่า ข) คำอธิบายของประเภทป่าที่ประสงค์ และ ค) ลักษณะและวิธีการขยายพันธุ์ของต้นไม้ที่เห็นว่าเหมาะสมสำหรับโครงการฟื้นฟู
  • เอกสารงานวิจัยและผู้อ่านจากต่างประเทศ:
    • เผลแพร่ผลการวิจัยสู่ผู้อื่นในวงการ พร้อมกับส่งเสริมการติดต่อสื่อสาร การอภิปราย การแลกเปลี่ยนความคิด และ การเข้ารับชม
    • ช่วยนักวิจัยคนอื่น ๆ ในการพัฒนาโครงการวิจัยของตนเอง

comic book

Duration:  - 
Providing secondary school teachers and their pupils with science-based skills, knowledge and technical support, enabling their involvement in effective forest ecosystem restoration. Free teaching on seed collection, germination and growing trees in nurseries. Support for 4 school tree nurseries per year. A network for swapping tree seed species among schools. Technical assistance with tree planting and follow up.

1: สมุดกิจกรรมโครงการยุวชนฟื้นฟูป่า

Publication date11 Nov 2022
Author(s)FORRU-CMU
PublisherChiang Mai University
Format
Book

คู่มือการเรียนรู้ที่ใช้งานง่ายเหมาะสำหรับนักเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการทำกิจกรรมของการฟื้นฟูป่า โดยเริ่มต้นจากการเก็บเมล็ด การเพาะกล้า ดูแลกล้าในเรือนเพาะชำ รวมถึงการปลูกต้นไม้...

2: คู่มือครูสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่

Publication date20 Mar 2022
Author(s)FOREST RESTORATION RESEARCH UNIT
PublisherChiang Mai University
Format
Book

            โครงการผืนป่าบนกระดานดำ คู่มือฉบับภาษาไทยได้รับรางวัลที่ 3 ประเภทการเขียนรางวัลลูกโลกสีเขียว หนังสือเล่มนี้ถูกเขียนและออกแบบโดยไผ่และส้ม (เจ้าหน้าที่ทางการศึกษาของเรา)...

3: Restoring Tropical Forests: a Practical Guide 

Publication date2013
Author(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & K. Hardwick
PublisherFirst published in 2013 by Royal Botanic Gardens, Kew, Richmond, Surrey, TW9 3AB, UK www.kew.org Distributed on behalf of the Royal Botanic Gardens, Kew in North America by the University of Chicago Press, 1427 East 60th Street, Chicago, IL 60637, USA
Format
Book

มีให้บริการในภาษาอังกฤษสเปนและฝรั่งเศส      ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ในงานประชุม ณ สวนพฤกษศาสตร์หลวง เมืองคิว ประเทศอังกฤษ...

4: ปลูกให้เป็นป่ากับหลินและทราย - เรื่องราวสำหรับเด็ก

Publication date2013
Author(s)FORRU-CMU
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หนังสือการ์ตูน "ปลูกให้เป็นป่ากับหลินและทราย" เผยแพร่ให้ดาวน์โหลดหลายภาษา สามารถเลือกภาษาที่ต้องการในช่องสี่เหลี่ยมทางขวามือ ถ้าหากไม่พบภาษาที่คุณต้องการ ทางเรายินดีที่จะเสนอไฟล์ PDF...

5: บทบาทของสวนพฤกษศาสตร์ในด้านวิทยาศาสตร์และการปฏิบัติในการฟื้นฟูระบบนิเวศ

Publication date2011
Author(s)Hardwick K. A., P. Fiedler, L. C Lee, B. Pavlik, R. J Hobbs, J. Aronson, M. Bidartondo, E. Black, D. Coates, M. I Daws, K. Dixon, S. Elliott, et. al.
PublisherWiley, Conservation Biology 25(2):265-275
Format
Journal Paper

บทคัดย่อ: ทักษะและทรัพยากรหลายอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกับสวนพฤกษศาสตร์และสวนรุกขชาติ รวมถึงอนุกรมวิธานพืช พืชสวน และการจัดการธนาคารเมล็ด ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของความพยายามในการฟื้นฟูระบบนิเวศ...

6: ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูป่าดิบที่ต่ำของจังหวัดกระบี่

Publication date2008
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., C. Kuaraksa, P. Tunjai, T. Polchoo, T. Kongho, J. Thongtao & J. F. Maxwell
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “การวิจัยและอนุรักษ์นกแต้วแร้วทองดำในประเทศไทยและประเทศพม่า” ซึ่งดำเนินการโดยองค์กรอนุรักษ์นกแห่งสหราชอาณาจักร (RSPB) และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Darwin...

7: ปลูกให้เป็นป่า แนวคิดและแนวปฏิบัติ สำหรับการฟื้นฟูป่าเขตร้อน

Publication date2005
Author(s)The Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S., D. Blakesley, J.F. Maxwell, S,, Doust & S. Suwannaratana
PublisherFORRU-CMU
Format
Book

หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ได้ตีพิมพ์หนังสือคู่มือเล่มนี้เมื่อปีพ.ศ. 2548  ในคู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยหลักการทั่วไปทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติในการฟื้นฟูป่า  ซึ่งสามารถใช้ทั่วไปในการฟื้นฟูป่าเขตร้อน ...

8: การดูแลรักษาป่าไม้ของประเทศไทย : การยื่นมือช่วยเหลือจาก Britain's Darwin Initiative

Publication date2003
Author(s)Kirby Doak
PublisherGuidelines Magazine
Format
Magazine Article

เคอบี้ โดกค์ เป็นทูตเยาวชนออสเตรเลียที่มีทักษะและกระตือรือร้นที่คอยช่วยเหลือด้านการศึกษาของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าตั้งแต่ปีค.ศ.2001-2010...

9: รางวัลจากการฟื้นฟูป่า

Publication date2002
Author(s)Elliott, S. & D. Blakesley
PublisherGuidelines Magazine
Format
Magazine Article

การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วทำให้ป่าเขตร้อนถูกทำลายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้การสูญเสียทางหลากหลายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้...

10: การดำเนินการตามวาระการประชุม

Publication date2000
Author(s)Elliott, S., J. Kerby, V. Baimai & A. Kaosa-ard
Editors(s)Elliott, S., J. Kerby, D. Blakesley, K. Hardwick, K. Woods & V. Anusarnsunthorn
PublisherInternational Tropical Timber Organization and the Forest Restoration Research Unit, Chiang Mai University
Format
Conference Paper

สาระสำคัญจากการประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างประเทศครั้งแรกของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า ม.เชียงใหม่ (Forru-CMU) ได้แก่...