นอกเหนือจากการบริการทางด้านการศึกษา ทางหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่ายังเล็งเห็นความสำคัญของการเผยแพร่ความรู้ทางด้านการฟื้นฟูป่าผ่านกิจกรรมต่างๆ สำหรับนักเรียนทุกระดับชั้น ครอบคลุมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับนิเวศวิทยา วิธีการปลูกป่า และกิจกรรมเสริมความรู้อื่นๆอีกมากมาย เราจัดทำในรูปแบบไฟล์ PDF สามารถดาวน์โหลดและถ่ายเอกสารไว้ใช้ในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน
นอกจากนั้นเรายังได้รวบรวมกิจกรรมจากหนังสือ "ปลูกให้เป็นป่า" ดังนี้
คู่มือเส้นทางศึกษาธรรมชาติ (เอกสารภาษาไทย)
• ดอยปุย (Doi Pui)
• ต้นไทรใหญ่ (Fig tree)
• ห้วยแก้ว (Huay Kaew)
• ถ้ำฤาษี (Tum Reusi)
กิจกรรมจากหนังสือปลูกให้เป็นป่า (เอกสารภาษาอังกฤษ)
• การฟื้นตัวตามธรรมชาติ (Accelerating Natural Regeneration)
• ขั้นตอนและการเตรียมตัวก่อนปลูกกล้าไม้ (Being Prepared and How to Plant)
• การดูแลกล้าไม้หลังปลูก (Caring and Maintenance)
• เทคนิคการเก็บเมล็ด (Collecting Seeds)
• การติดตามผลการเจริญเติบโตของต้นกล้า (Monitoring Forest Recovery)
• การเตรียมแปลงฟื้นฟูก่อนปลูก (Preparing to Plant a Site)
• ขั้นตอนการสำรวจแปลง (Site Surveying)
กิจกรรมสำหรับใช้สอนในห้องเรียน (เอกสารภาษาอังกฤษ)
• เกมต่อคำศัพท์สิ่งมีชีวิต (Animal Crossword)
• สิ่งมีชีวิตในภาคเหนือของประเทศไทย (Animals in Northern Thailand)
• ฝึกการเขียน (Creative Writing)
• กระบวนการฟื้นฟูป่า (Colouring in: Forest Restoration Processes)
• ปลูกป่าเพื่อเพิ่มความหลากหลาย (Colouring in: Planting to Maximise Conservation)
• คำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (Environmental Words)
• โปสเตอร์เสริมความรู้ (Forest Posters)
• การเลือกชนิดพรรณไม้โครงสร้าง (Selecting Framework Species)
• เรียนรู้ใบไม้ธรรมชาติ (The Perfect Leaf)
• ปัจจัยในการเจริญเติบโตของต้นกล้า (What Plants Need to Grow)
• 5 ปัจจัยสำคัญในการย้ายกล้าไม้ (5 Points for Perfect Potting)
• ข้อสอบประมวลความรู้เกี่ยวกับหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (Recap Quiz)
กิจกรรมสำหรับใช้สอนนอกห้องเรียน (เอกสารภาษาอังกฤษ)
• ผลและเมล็ด (Fruit and Seed)
• การย้ายกล้าลงภาชนะปลูก (Potting Seedlings)
• หอพรรณไม้และการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ (Tree Herbarium)
นอกจากนี้หน่วยวิจัยฯมีคู่มือสำหรับเรือนเพาะชำในโรงเรียน สำหรับโรงเรียนไหนที่ต้องการจัดตั้งเรือนเพาะชำเป็นของตัวเองและพัฒนาโดย Plant a Tree Today Foundation ที่ทำงานร่วมกับหน่วยวิจัยฯ
สิ่งที่ต้องทำหลังจากกลับไปถึงโรงเรียน:
- ค้นหาหนังสือเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในภูมิภาคของโรงเรียน
- ระบุสายพันธุ์ของพันธุ์ไม้ท้องถิ่นที่พบบริเวณโรงเรียนและติดฉลากต้นไม้เก็บฐานข้อมูล
- หาเรือนเพาะชำที่สามารถเพาะพันธุ์ไม้ท้องถิ่นได้
- จัดตั้งสวนพฤกษศาสต์ในโรงเรียน