ห้องสมุด

Publications

Showing publications 1 to 10 out of 47 found.

1: การคัดเลือกพรรณไม้ที่เหมาะสมสำหรับการการหยอดเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date09 Apr 2024
Author(s)Naruangsri, K, W. Pathom-aree, S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherForests (MDPI)
Format

บทคัดย่อ: เพื่อยกระดับการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน การฟื้นฟูป่าโดยการหยอดเมล็ด – การนำเมล็ดไปหยอดในดินโดยตรง – อาจเป็นเทคนิคที่มีต้นทุนต่ำกว่าการปลูกต้นไม้...

2: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

3: ทฤษฎีเบื้องหลังการฟื้นฟู

Publication dateOct 2023
Author(s)พนิตนาถ แชนนอน
PublisherFORRU-CMU
Format

หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมถึงการรบกวนที่ส่งผลต่อกระบวนการฟื้นตัวของธรรมชาติ ทำให้มวลชีวภาพลดลงและสภาพดินเปลี่ยนแปลงไป...

4: ความแตกต่างของการล่าเมล็ด การงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดชนิดที่มีความเหมาะสมในการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด – กรณีศึกษาจากภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date16 Aug 2023
Author(s)Naruangsri, K., P. Tiansawat, S. Elliott
PublisherForest Ecosystems
Format

บทคัดย่อ: ฟื้นฟูป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนโดยวิธีการหยอดเมล็ดอาจเป็นทางเลือกที่คุ้มค่ากว่าการปลูกต้นไม้แบบเดิม  อย่างไรก็ตาม...

5: การใช้คุณลักษณะการทำหน้าที่เพื่อจำแนกกลุ่มพืชในกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของไม้ยืนต้นในการฟื้นฟูป่า

Publication date23 May 2023
Author(s)Manohan, B., D.P. Shannon, P. Tiansawat, S. Chairuangsri, J. Jainuan & S. Elliott
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ:  การฟื้นฟูระบบนิเวศป่ามีความสอดคล้องกับชนิดต้นไม้ที่เติบโตในแต่ละระยะของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ในป่าธรรมชาติ...

6: Bar-HRM สำหรับการยืนยันชนิดของพรรณไม้ท้องถิ่นที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date24 Jun 2022
Author(s)Osathanunkul, M.; Sawongta, N.; Madesis, P.; Pheera,W.
PublisherForests
Format

บทคัดย่อ: การยืนยันชนิดของพืชเป็นขั้นตอนสำคัญในการใช้พรรณไม้ท้องถิ่นในการฟื้นฟูป่า งานวิจัยนี้ได้มีการศึกษาวิธีการไฮบริดของ DNA barcoding และ high-resolution melting analysis (Bar-HRM)...

7: การคัดเลือกพันธุ์ไม้พื้นเมืองเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าริมน้ำจังหวัดตาก

Publication date22 Jan 2022
Author(s)Waiboonya, P., B. Moungsrimuangdee & S. Elliott
PublisherBurapha Science Journal
Format

บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมสำหรับใช้ปลูกในการฟื้นฟูป่าริมน้ำ ด้วยการทดลองปลูก กล้าพันธุ์ไม้พื้นเมืองจำนวน 10 ชนิด ในแปลงทดลองริมน้ำที่มีสภาพเสื่อมโทรมจำนวน...

8: การกระจายของต้นกล้าก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) ใต้ต้นแม่ในแปลงฟื้นฟูป่า

Publication date2022
Author(s)Kaewsomboon, S. & Chairuangsri, S.
PublisherEnvironment Asia
Format

บทคัดย่อ: ก่อหมูดอย (Castanopsis calathiformis (Skan)Rehder & E.H.Wilson) เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ก่อ (Fagaceae) ที่ปลูกในปี 2541 ในแปลงป่าฟื้นฟูใกล้กับหมู่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่...

9: แนวทาง 10 ประการสำหรับโครงการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บคาร์บอน การฟื้นคืนความหลากหลายทางชีวภาพ และประโยชน์ในการดำรงชีวิต

Publication date2021
Author(s)Di Sacco, A., K. Hardwick, D. Blakesley, P.H.S. Brancalion, E. Breman, L.C. Rebola, S. Chomba, K. Dixon, S. Elliott, G. Ruyonga, K. Shaw, P. Smith, R.J. Smith & A. Antonelli
PublisherWiley: Glob. Change Biol. 27:1328-1348
Format

บทคัดย่อ: การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างเร่งด่วนเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง มีความคิดริเริ่มในการปลูกต้นไม้ที่มีมากขึ้น หลายโครงการกำลังดำเนินการอยู่...

10: การกลับเข้ามาของกล้าไม้ท้องถิ่นในป่าที่ถูกฟื้นฟู

Publication dateApr 2020
Author(s)Yingluck Ratanapongsai
PublisherUniversitas Hasanuddin, Indonesia
Format

บทนำ: ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมจากการตัดไม้ทำลายป่าเป็นที่น่ากังวลมากขึ้นนับตั้งแต่ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะในพื้นที่เทือกเขาทางตอนเหนือของประเทศไทย ถูกแปรสภาพเป็นพื้นที่เกษตกรรมเกือบทั้งสิ้น...

    • 13: 47
    • 11: 17
    • 12: 17
    • 36: 14
    • 15: 10
    • 14: 9
    • 34: 8
    • 33: 7
    • 10: 6
    • 35: 3
    • 37: 3
    • 39: 3
    • 16: 2
    • 38: 2
    • 40: 2
    • 28: 18
    • 42: 7
    • 47: 7
    • 19: 6
    • 18: 4
    • 26: 3
    • 45: 1
    • 46: 1
    • 48: 47
    • 21: 7