ห้องสมุด

Publications

Showing publications 1 to 10 out of 26 found.

1: การคัดเลือกพรรณไม้ที่เหมาะสมสำหรับการการหยอดเมล็ดเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date09 Apr 2024
Author(s)Naruangsri, K, W. Pathom-aree, S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherForests (MDPI)
Format

บทคัดย่อ: เพื่อยกระดับการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน การฟื้นฟูป่าโดยการหยอดเมล็ด – การนำเมล็ดไปหยอดในดินโดยตรง – อาจเป็นเทคนิคที่มีต้นทุนต่ำกว่าการปลูกต้นไม้...

2: การพัฒนาเทคนิคสำหรับการหยอดเมล็ดโดยตรงเพื่อการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication dateNov 2023
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherChiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ดเป็นวิธีการที่มีศักยภาพในด้านต้นทุนเมื่อเทียบกับการปลูกต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในสเกลที่ใหญ่ขึ้น...

3: ความแตกต่างของการล่าเมล็ด การงอก และการเจริญเติบโตของต้นกล้าซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดชนิดที่มีความเหมาะสมในการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด – กรณีศึกษาจากภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date16 Aug 2023
Author(s)Naruangsri, K., P. Tiansawat, S. Elliott
PublisherForest Ecosystems
Format

บทคัดย่อ: ฟื้นฟูป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนโดยวิธีการหยอดเมล็ดอาจเป็นทางเลือกที่คุ้มค่ากว่าการปลูกต้นไม้แบบเดิม  อย่างไรก็ตาม...

4: วิทยาการหุ่นยนต์ทางอากาศ การจัดการป่าไม้และการหว่านเมล็ด

Publication date2020
Author(s)Amorós, L., & J. Ledesma
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU

บทคัดย่อ โดรนคอเรีย (Dronecoria) คือ โครงการฟื้นฟูป่าที่ใช้โดรนที่ผ่านการปรับแต่งได้ด้วยตนเอง (DIY) เพื่อแพร่กระจายเมล็ด (“dronechory”) ในลูกบอลดิน...

5: วิธีการคัดเลือกพันธุ์จากลักษณะสำหรับการเพาะเมล็ดทางอากาศ

Publication date2020
Author(s)Beckman, N.G. & P. Tiansawat
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU

บทคัดย่อ: พวกเรารวบรวม และสรุปงานวิจัยด้านระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับลักษณะเชิงทำงาน (functional traits) ที่สามารถช่วยในการคัดเลือกชนิดต้นไม้เพื่อการฟื้นฟูด้วยการเพาะเมล็ดทางอากาศ...

6: เมล็ด (Smart seed) สำหรับการฟื้นฟูป่าแบบอัตโนมัติ

Publication date2020
Author(s)Pedrini, S., D. Merritt & K. Dixon
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU

บทคัดย่อ การเพาะเมล็ดทางอากาศอาจเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าในพื้นที่ที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ หรือพื้นที่ห่างไกล ซึ่งวิธีการเพาะแบบนี้ มีการใช้ในทางการเกษตรเป็นเวลาเกือบ 80 ปี...

7: การพัฒนาเทคนิคการโปรยเมล็ดทางอากาศโดยใช้อากาศยานไร้คนขับ (UAV): จากบทเรียนการหยอดเมล็ด

Publication date2020
Author(s)Shannon, D. P. & S. Elliott
Editors(s)Elliott S., G, Gale & M. Robertson
PublisherFORRU-CMU

บทคัดย่อ: การหยอดเมล็ด หมายถึง การหว่านเมล็ดต้นไม้ป่าลงสู่พื้นที่ฟื้นฟูโดยตรง วิธีการนี้เป็นวิธีการที่มีราคาถูกกว่าการฟื้นฟูป่าโดยวิธีการปลูก...

8: พฤติกรรมการจัดเก็บเมล็ดของพรรณไม้ท้องถิ่นภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date11 Jun 2019
Author(s)Waiboonya, P., S. Elliott & P. Tiansawat
PublisherEnv. Asia.12(3):104-111. DOI 10.14456/ea.2019.50
Format

บทคัดย่อ : การเก็บรักษาเมล็ดพรรณไม้ท้องถิ่นเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาวิธีการฟื้นฟูป่าโดยใช้เมล็ด เช่น...

9: ระยะเวลาและความสำเร็จในการเพาะเมล็ดพันธุ์ไม้พื้นเมืองโดยตรงเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนในภาคเหนือ

Publication date2019
Author(s)Waiboonya, P. & S. Elliott
PublisherNew Forests:  81-99. https://doi.org/10.1007/s11056-019-09720-1
Format

บทคัดย่อ:  การเพาะเมล็ดโดยตรง (การหว่านเมล็ดลงดินโดยตรง) อาจเป็นวิธีการฟื้นฟูป่าที่คุ้มค่า ซึ่งสามารถทดแทนหรือเสริมการปลูกต้นไม้แบบเดิมได้ภายใต้เงื่อนไขบางประการ...

10: การล่าเมล็ดและต้นกล้าของพรรณไม้โครงสร้าง 5 ชนิด ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ของบ้านหนองหอย อำเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Publication dateNov 2017
Author(s)Naruangsri, K.
PublisherGraduate School, Chiangmai University
Format

บทคัดย่อ: การฟื้นฟูป่าโดยวิธีการหยอดเมล็ด มีข้อจำกัดหนึ่ง คือ การล่าเมล็ดและต้นกล้าโดยศัตรูตามธรรมชาติ ที่มีทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง...

    • 34: 26
    • 12: 11
    • 13: 11
    • 14: 8
    • 10: 6
    • 33: 6
    • 11: 5
    • 36: 5
    • 41: 5
    • 37: 4
    • 15: 3
    • 35: 3
    • 39: 2
    • 40: 1
    • 28: 8
    • 19: 6
    • 42: 6
    • 18: 3
    • 47: 3
    • 48: 17
    • 21: 11