ห้องสมุด

Publications

21: งานวิจัยเพื่อการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน คู่มือดำเนินการ

Publication date2008
Author(s)Forest Restoration Research Unit
Editors(s)Elliott, S.D., D. Blakesley & S. Chairuangsri
PublisherFORRU-CMU
Format

          คู่มือทางเทคนิคนี้มุ่งเป้าไปที่นักวิจัยและหัวหน้างาน คู่มือทางเทคนิคนี้อธิบายถึงวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าอธิบายวิธีการจัดตั้งหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าไม้(FORRU)...

22: การตั้งตัวตามธรรมชาติของต้นกล้าไม้ยืนต้นในพื้นที่ทดสอบการฟื้นฟูป่าที่บ้านแม่สาใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

Publication date2008
Author(s)Sinhaseni, K
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ: หน่วยวิจัยและฟื้นนฟูป่า (FORRU) ประสบความสําเร็จในการใช้วิธีพรรณไม้โครงสร้างฟื้นฟูป่าโดยกระตุ้นการกลับคืนมาของป่าตามธรรมชาติบริเวณพื้นที่ป่าที่ถูกทําลายในภาคเหนือของประเทศไทย...

23: สถานะอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า ของพรรณไม้พื้นเมืองที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าเขตร้อนที่แห้งแล้งตามฤดูกาลในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2008
Author(s)Nandakwang, P., S. Elliott, S. Youpensuk, B. Dell, N. Teaumroon & S. Lumyong
PublisherRsch. J. Microbiol., 3 (2): 51-61.
Format

ได้มีการสำรวจสถานะ อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่า(AM) ของพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนทางภาคเหนือของประเทศไทย มีการตรวจสอบพรรณไม้โครงสร้าง 24 ชนิดที่ใช้ในการฟื้นฟูป่าในพื้นที่ 3 แห่ง ได้แก่ พื้นที่วิจัยของ...

24: การใช้ความหลากชนิดและองค์ประกอบของชุมชีพของนกเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จในการฟื้นฟูป่า

Publication dateJan 2007
Author(s)Toktang, T., S. Elliott & G. Gale
PublisherKing Mongkut University of Technology Thonburi
Format

บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการฟื้นฟูป่าต่อความหลากชนิดและองค์ประกอบทางด้านชุมชีพของนกในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย...

25: ผลของไม้ปลูกและชุมชีพนกต่อการตั้งตัวของกล้าไม้ธรรมชาติในพื้นที่ฟื้นฟูป่าด้วยวิธีพรรณไม้โครงสร้าง

Publication date2007
Author(s)Wydhayagarn, C.
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีขึ้นเพื่อตรวจสอบผลของไม้ปลูกและชุมชีพนกต่อการตั้งตัวของกล้าไม้ธรรมชาติในพื้นที่ฟื้นฟูป่าด้วยวิธีพรรณไม้โครงสร้างของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า (FORRU) ภาควิชาชีววิทยา...

26: ผลของการฟื้นฟูป่าต่อความหลากหลายของชนิดและองค์ประกอบของสังคมนกในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย 

Publication date2007
Author(s)Toktang, T
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ : ในขณะที่การทำลายป่ายังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง การฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้จึงถูกยกให้เป็นประเด็นสำคัญในระดับต้น ๆ ของการอนุรักษ์ความหลากหลายทางธรรมชาติ...

27: การฟื้นตัวของความหลากหลายของไลเคนระหว่างการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย

Publication date2006
Author(s)Phongchiewboon, A
Publisherthe Graduate School, Chiang Mai University
Format

บทคัดย่อ การศึกษานี้วิจัยเรื่องการฟื้นตัวของความหลากหลายของไลเคนระหว่างการฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทยของกลุ่มไลเคนบนต้นไม้ที่ช่วงอายุต่างๆ ของการฟื้นฟูป่า ทำการรวบรวมความหลากหลาย, ความชุก...

28: ความหลากหลายของชุมชีพสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในพื้นที่ฟื้นฟูป่าของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า

Publication date2003
Author(s)Thaiying, J
PublisherChiang Mai University
Format

เจนภพ ไทยยิ่ง นักศึกษาปริญญาตรีของเราได้นำเสนอสิ่งที่เกิดขึ้นกับชุมชีพของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในระยะเริ่มต้นของการฟื้นฟูป่า ในการศึกษาก่อนหน้าของ FORRU นักศึกษาปริญญาตรีอีกคนหนึ่ง สมยศ...

29: ผลกระทบของการฟื้นฟูป่าที่มีต่อความหลากหลายของพันธุ์ไม้ตามธรรมชาติและพืชพื้นล่าง

Publication date2003
Author(s)Khopai, O. & S. Elliott, 2003.
PublisherBringing Back the Forests: Policies and Practices for Degraded Lands and Forests.
Format

การฟื้นฟูป่าโดยวิธีพรรณไม้โครงสร้างมีเป้าหมายเพื่อสร้างโครงสร้างและหน้าที่ของระบบนิเวศป่าขึ้นใหม่ได้อย่างรวดเร็ว...

30: การแสดงชนิดของนกที่ศูนย์พัฒนาและขยายพันธุ์สัตว์ป่าถ้ำน้ำลอด จ. แม่ฮ่องสอน

Publication date2001
Author(s)Sanitjan, S
PublisherThe Graduate School, Chiang Mai University
Format

ABSTRACT: การศึกษาองค์ประกอบของนกในชุมชนได้ดำเนินการที่ศูนย์พัฒนาและขยายพันธุ์สัตว์ป่าถ้ำน้ำลอด จ. แม่ฮ่องสอนตั้งแต่เดือนกันยายน 2542 ถึงเดือนสิงหาคม 2543 ประเภทของป่าในพื้นที่หินปูนนี้ ได้แก่...

    • 37: 41
    • 11: 23
    • 12: 13
    • 10: 8
    • 13: 6
    • 14: 4
    • 15: 4
    • 33: 4
    • 34: 4
    • 35: 4
    • 36: 3
    • 39: 3
    • 41: 2
    • 40: 1
    • 28: 11
    • 26: 8
    • 18: 7
    • 42: 5
    • 47: 4
    • 19: 2
    • 45: 2
    • 43: 1
    • 46: 1
    • 48: 32
    • 21: 9
    • 50: 1
    • 51: 1
    • 52: 1
    • 53: 1